หลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
จุดประสงค์การเรียนรู้กิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
๑.
เพื่อให้ลูกเสือมีความรู้ความสามารถ
ในทางวิชาการลูกเสือเพิ่มขึ้นจากที่เรียนมา ในระดับต้น คือ ลูกเสือตรี โท
เอก
๒.
เพื่อให้ลูกเสือได้มีความเข้าใจ
และฝึกฝนทักษะตนเองในแต่ละวิชาที่เรียนมาได้ดียิ่งขึ้น
๓.
เพื่อส่งเสริมให้ลูกเสือได้เรียนในวิชาที่ตนเองถนัด และสนใจเป็นพิเศษ
๔.
เพื่อให้ความซาบซึ้งในกิจการลูกเสือมากยิ่งขึ้น
๕.
เพื่อให้ลูกเสือได้นำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ
และบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม
คำอธิบายรายวิชากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
เพื่อให้ลูกเสือมีความรู้ความเข้าใจในทางวิชาการลูกเสือเพิ่มขึ้นจากที่เรียนมาในระดับต้น
คือ ลูกเสือตรี โท เอก
มีความสามารถ
ฝึกฝนทักษะตนเองในรายวิชาที่ตนเองถนัด
และสนใจ เป็นพิเศษ
มีความซาบซึ้งในกิจการลูกเสือและนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ
และบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม
ตัวชี้วัด
ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ
๑.๒ ธำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย
๑.๓ ศรัทธา
ยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา
๑.๔
เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ข้อที่ ๒ ซื่อสัตย์สุจริต
๒.๑
ปฏิบัติตรงกับความเป็นจริงต่อตนเองทั้งกาย วาจา ใจ
๒.๒
ปฏิบัติตรงกับความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งกาย วาจา
ใจ
ข้อที่ ๓ มีวินัย
๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์
ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม
ข้อที่ ๔ ใฝ่เรียนรู้
๔.๑
ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม
๔.๒
แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม
สรุปเป็นองค์ความรู้และสามารถนำไปใช้ชีวิตประจำวันได้
ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง
๕.๑ ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ
มีเหตุผลรอบคอบ มีคุณธรรม
๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ข้อที่ ๖ มุ่งมั่นในการทำงาน
๖.๑
ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน
๖.๒ ทำงานด้วยความเพียรพยายาม
และอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย
ข้อที่
๗ รักความเป็นไทย
๗.๑
ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี
ศิลปวัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที
๗.๒
เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๗.๓ อนุรักษ์
และสืบทอดภูมิปัญญาไทย
ข้อที่
๘ มีจิตสาธารณะ
๘.๑
ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน
๘.๒
เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน
ชุมชนและสังคม
หลักสูตรเครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
เครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ
เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดด้านละ ๓ ซม.
ตามแบบพื้นสีกากีภายในมีรูปช่อชัยพฤกษ์สีขาว ๒ ช่อ
โค้งเข้าหากัน
ปลายช่อชัยพฤกษ์มีตราเครื่องหมายหัวลูกศรสีขาว
ระหว่างช่อชัยพฤกษ์ มีหน้าเสือสีทอง
เครื่องหมายนี้
ติดที่กึ่งกลางกระเป๋าเสื้อข้างขวาซึ่งลูกเสือจะต้องสอบหัวข้อรายวิชาตามที่กำหนด
ซึ่งโรงเรียนได้จัดให้มีการเรียนทั้งหมด ๔๐
ชั่วโมง
ดังนี้
๑.
หน้าที่พลเมือง ๔
ชั่วโมง
๒.
สิ่งแวดล้อม ๖
ชั่วโมง
๓.
การเดินทางสำรวจ ๒
ชั่วโมง
๔.
การแสดงออกทางศิลปะ
๒
ชั่วโมง
๕.
สมรรถภาพทางกาย ๖
ชั่วโมง
๖.
อุดมคติ ๖
ชั่วโมง
๗.
กิจกรรมที่สนใจเป็นพิเศษ
๔
ชั่วโมง
๘.
บริการ ๖
ชั่วโมง
๙.
ทบทวนและสอบ ๔
ชั่วโมง
รวม ๔๐
ชั่วโมง
หลักสูตรเครื่องหมายวิชาพิเศษ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียนได้จัดให้นักเรียนสอบเครื่องหมายวิชาพิเศษ
ได้ดังต่อไปนี้
๑.
นักผจญภัย
๘.
นักดนตรี
๒.
นักดาราศาสตร์
๙.
นักกีฬา
๓.
นักเดินทางไกล
๑๐.
นักกรีฑา
๔.
หัวหน้าคนครัว ๑๑.
นักพิมพ์ดีด
๕.
นักบุกเบิก
๑๒.
บรรณารักษ์
๖.
นักธรรมชาติวิทยา
๑๓.
นักว่ายน้ำ
๗.
นักสะสม
เครื่องหมายสายยงยศลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
อาจได้รับสายยงยศได้ โดยจะต้อง
๑.
สอบได้เครื่องหมายลูกเสือโลก
๒.
สอบได้วิชาพิเศษ นักผจญภัย
๓.
สอบได้วิชาพิเศษวิชาต่อไปนี้ อีก
๒ วิชา คือ นักดาราศาสตร์,
นักอุตุนิยมวิทยา, การจัดการค่าย
พักแรม, ผู้พิทักษ์ป่า,
นักเดินทางไกล,
หัวหน้าคนครัว,
นักบุกเบิก,
นักสะกดรอย,
นักธรรมชาติวิทยา
โครงสร้างกิจกรรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
(เครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
เรื่องที่ |
สาระการเรียนรู้ |
ช.ม. |
หมายเหตุ |
๑ |
หน้าที่พลเมือง
|
๔ |
|
|
-
ประวัติการลูกเสือไทยและวิธีดำเนินการของขบวนการลูกเสือโดยย่อ
-
การเยี่ยมหน่วยงานหรือสถาบัน |
|
|
๒ |
สิ่งแวดล้อม
-
ความหมายของสิ่งแวดล้อม
-
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและมลภาวะ
-
วิธีการอนุรักษ์สัตว์
และพืชในท้องถิ่น
-
ข้อพึงระวังในการอยู่ค่ายพักแรม
-
ชนิดของมลภาวะที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
|
|
|
๓
|
การสำรวจ
-
หลักในการเดินทางสำรวจด้วยเท้าที่ถูกต้องปลอดภัย
-
การจัดอาหารและอุปกรณ์ เวชภัณฑ์
-
การทำแบบรายงานสำรวจ
ลักษณะของการรายงาน
-
ความจำเป็นในการจัดทำแบบรายงาน |
๒ |
|
๔ |
การแสดงออกทางศิลปะ
|
๒ |
|
|
- ศิลปการแสดง เช่น
ดนตรี ละคร ฟ้อนรำ
-
ทัศนศิลป์และวาดภาพระบายสี ปั้น
ถ่ายภาพ ฯลฯ
- การช่าง เช่น
พิมพ์ภาพด้วยวิธีสกรีน แกะสลักไม้
|
|
|
๕ |
สมรรถภาพทางกาย
-
มาตรฐานการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
- ความหมาย
ชนิดและโทษของสิ่งเสพติด
- กีฬาไทย
และกีฬาสากลประเภทต่าง ๆ |
๖ |
|
๖ |
อุดมคติ
-
กฎและคำปฏิญาณของลูกเสือ
- ศีล ๕ และศีล ๘
- อาราธนาศีล
อาราธนาธรรม และอาราธนาพระปริตร
-
หลักสำคัญในพุทธศาสนาหมวดธรรมวิภาค
และหมวดคิหิปฏิบัติ |
๖ |
|
๗ |
กิจกรรมที่ตนเองสนใจเป็นพิเศษ
- กฎแห่งความปลอดภัย
-
กิจกรรมที่ใช้กำลังกาย
-
กิจกรรมที่ใช้สติปัญญา
- กิจกรรมวิทยาการ
|
๔ |
|
๘ |
การบริการ
หลักสูตรลูกเสือสำรอง ๔ ชั่วโมง
- ความหมายของชุมชน
การบริการ และการพัฒนาชุมชน
-
กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน
-
กฎของลูกเสือกับการให้การบริการชุมชน
- การปฐมพยาบาล
และหลักการปฐมพยาบาลโดยทั่วไป
-
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิธีต่าง ๆ
-
เหตุฉุกเฉินและการบริการ |
๖ |
|
|