หลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
จุดประสงค์การเรียนรู้กิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
๑.
เพื่อให้ลูกเสือมีความรู้ความสามารถ
ในทางวิชาการลูกเสือเพิ่มขึ้นจากที่เรียนมา ในระดับต้น คือ ลูกเสือตรี โท
เอก
๒.
เพื่อให้ลูกเสือได้มีความเข้าใจ
และฝึกฝนทักษะตนเองในแต่ละวิชาที่เรียนมาได้ดียิ่งขึ้น
๓.
เพื่อส่งเสริมให้ลูกเสือได้เรียนในวิชาที่ตนเองถนัด และสนใจเป็นพิเศษ
๔.
เพื่อให้ความซาบซึ้งในกิจการลูกเสือมากยิ่งขึ้น
๕.
เพื่อให้ลูกเสือได้นำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ
และบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่สังคม
คำอธิบายรายวิชากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เพื่อให้ลูกเสือมีความรู้ความเข้าใจในทางวิชาการลูกเสือเพิ่มขึ้นจากที่เรียนมาในระดับต้น
คือ ลูกเสือตรี
โท เอก
มีความสามารถ
ฝึกฝนทักษะตนเองในรายวิชาที่ตนเองถนัด และสนใจเป็นพิเศษ
มีความซาบซึ้งในกิจการลูกเสือและนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ
และบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ แก่สังคม
ตัวชี้วัด
ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ
๑.๒ ธำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย
๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา
๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ข้อที่ ๒ ซื่อสัตย์สุจริต
๒.๑ ปฏิบัติตรงกับความเป็นจริงต่อตนเองทั้งกาย วาจา ใจ
๒.๒ ปฏิบัติตรงกับความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งกาย วาจา ใจ
ข้อที่ ๓ มีวินัย
๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว
โรงเรียน และสังคม
ข้อที่ ๔ ใฝ่เรียนรู้
๔.๑ ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม
๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
ทั้งภายในและนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม
สรุปเป็นองค์ความรู้และสามารถนำไปใช้ชีวิตประจำวันได้
ข้อที่ ๕ อยู่อย่างพอเพียง
๕.๑ ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผลรอบคอบ มีคุณธรรม
๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ข้อที่ ๖ มุ่งมั่นในการทำงาน
๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน
๖.๒ ทำงานด้วยความเพียรพยายาม
และอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย
ข้อที่ ๗ รักความเป็นไทย
๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี
ศิลปวัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที
๗.๒
เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๗.๓ อนุรักษ์ และสืบทอดภูมิปัญญาไทย
ข้อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ
๘.๑ ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน
๘.๒ เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน
ชุมชนและสังคม
หลักสูตรเครื่องหมายลูกเสือหลวง
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เครื่องหมายลูกเสือหลวง เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ขนาดด้านละ ๓ ซม.
ตามแบบพื้นสีกากี ขอบสีขาว
มีรูปพระมหามงกุฏสีทองอยู่ตรงกลางและมีตราคณะลูกเสือแห่งชาติสีขาวอยู่เบื้องล่างพระมหามงกุฏ
เครื่องหมายนี้ ติดที่กึ่งกลางกระเป๋าเสื้อข้างขวา
ซึ่งลูกเสือจะต้องสอบหัวข้อรายวิชาตามที่กำหนด
ซึ่งโรงเรียนได้จัดให้มีการเรียนทั้งหมด ๔๐
ชั่วโมง ดังนี้
๑.
หน้าที่พลเมือง
๖ ชั่วโมง
๒.
สิ่งแวดล้อม
๔
ชั่วโมง
๓.
การเดินทางสำรวจ
๒
ชั่วโมง
๔.
การแสดงออกทางศิลปะ
๒ ชั่วโมง
๕.
สมรรถภาพทางกาย
๓ ชั่วโมง
๖.
อุดมคติ
๔
ชั่วโมง
๗.
กิจกรรมที่สนใจเป็นพิเศษ
๓
ชั่วโมง
๘.
บริการ
๘
ชั่วโมง
๙. การฝึกเป็นผู้นำ ๔
ชั่วโมง
๑๐.
ทบทวนและสอบกิจกรรม ๔
ชั่วโมง
รวม ๔๐ ชั่วโมง
หลักสูตรเครื่องหมายวิชาพิเศษ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
โรงเรียนได้จัดให้นักเรียนสอบเครื่องหมายวิชาพิเศษ ได้ดังต่อไปนี้
๑.
นักผจญภัย ๘.
นักสะสม
๒.
นักดาราศาสตร์
๙. นักดนตรี
๓.
ผู้จัดการค่ายพักแรม
๑๐. นักกีฬา
๔.
นักเดินทางไกล ๑๑.
นักกรีฑา
๕.
หัวหน้าคนครัว ๑๒.
นักพิมพ์ดีด
๖.
นักบุกเบิก
๑๓. บรรณารักษ์
๗.
นักธรรมชาติวิทยา ๑๔.
นักว่ายน้ำ
เครื่องหมายสายยงยศลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ลูกเสือระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ อาจได้รับสายยงยศได้ โดยจะต้อง
๒. สอบได้วิชาพิเศษ
นักผจญภัย
๓. สอบได้วิชาพิเศษวิชาต่อไปนี้ อีก ๒ วิชา คือ
นักดาราศาสตร์,
นักอุตุนิยมวิทยา,
การจัดการค่าย พักแรม, ผู้พิทักษ์ป่า,
นักเดินทางไกล, หัวหน้าคนครัว,
นักบุกเบิก, นักสะกดรอย,
นักธรรมชาติวิทยา
๔. ต้องถักสายยงยศ
(สายหนัง)
ได้ด้วยตัวเอง
โครงสร้างกิจกรรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
(เครื่องหมายลูกเสือหลวง)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เรื่องที่ |
สาระการเรียนรู้ |
ช.ม. |
หมายเหตุ |
๑ |
หน้าที่พลเมือง
|
๖ |
|
|
๑. ขอบข่ายบทบาทและหน้าที่ของกรรมการลูกเสือ
แผนการปฏิบัติงาน
๒. พระมหากษัตริย์กับการปกครองของระบอบ
ประชาธิปไตย และระเบียบกฎหมายเลือกตั้ง
๓. บทบาทและหลักการของพรรคการเมืองไทย
๔. นโยบายของรัฐบาลไทยที่เกี่ยวกับต่างประเทศ
๕. หลักการดำเนินงานของสหประชาชาติ
องค์การชำนัญพิเศษ |
|
|
๒ |
สิ่งแวดล้อม
|
|
|
๓
|
การสำรวจ
๑. เดินทางสำรวจด้วยการเดินเท้าเป็นหมู่ ๆ ละ
๔ คน ใช้
เวลาอย่างน้อย ๔ วัน (พักแรม ๓ คืน)
เดินทางไกล
๕๐ ๗๐ ก.ม. ในท้องถิ่นที่ไม่คุ้นเคย
และมีความ
ยากลำบากในการเดินทางมาก หรือ
๒. เดินทางสำรวจโดยรถจักรยาน หมู่ละ ๔ ๖
คน เป็น
ระยะทาง ๑๕๐ ๒๐๐ ก.ม.
ในท้องถิ่นที่ไม่คุ้นเคย
และมีความยากลำบากในการเดินทางมาก หรือ
๓. เดินทางสำรวจโยเรือพายเป็นระยะทาง ๕๐
๗๐ ก.ม.
ตามลำน้ำหรือชายฝั่งทะเลหมู่ละ ๔ ๖
คน |
๒ |
|
๔ |
การแสดงออกทางศิลปะ
|
๒ |
|
|
๑. คุณค่างานศิลปะ
๒. ศิลปะทางการแสดง
หรือทัศนศิลป์หรือการช่าง หรือ
|
|
|
๕ |
สมรรถภาพทางกาย
๑. ท่าตั้งต้น การออกวิ่ง
ท่าทางการวิ่งและวิธีวิ่งผ่านเส้นชัย
๒. การวิ่งก่อนกระโดด การจรดเท้ากระโดด
การลอยตัวใน
อากาศและการลงสู่พื้น
๓. การยืนเตรียมตัวก่อนทุ่ม
การถือลูกน้ำหนัก การเคลื่อน
ที่การทุ่ม และการทรงตัว
หลักการทุ่มน้ำหนัก
๔. จำนวนผู้เล่น วิธีเล่น และกติกาเซปัค
ตะกร้อ
๕. การถือคทาตั้งต้นออกวิ่ง
การปฏิบัติของผู้รับคทา และ
การปฏิบัติของผู้ส่งคทาวิ่งผลัด |
๓ |
|
๖ |
อุดมคติ
๑.
ศาสนาทุกศาสนามีหลักการให้คนทำความดี ละเว้น
ความชั่ว และทำใจให้บริสุทธิ์
๒.
คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือในส่วนที่สอดคล้องกับ
หลักธรรมในศาสนา
๓.
แนวทางการนำเอาคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือไปช่วย
แก้ปัญหาสังคม |
๔ |
|
๗ |
กิจกรรมที่ตนเองสนใจเป็นพิเศษ (โต้วาที)
๑. ความหมาย จุดมุ่งหมาย หลักเกณฑ์
วิธีการ และ
แนวในการจัดการโต้วาที
๒. กิจกรรมการโต้วาที (ภาคปฏิบัติ) |
๓ |
|
๘ |
การบริการ หลักสูตรลูกเสือสำรอง ๔ ชั่วโมง
๒. เตรียมลูกเสือสำรอง
๓. ดาวดวงที่ ๑
๔. ดาวดวงที่ ๒
๕. ดาวดวงที่ ๓ |
๔ |
|
๙ |
การบริการ หลักสูตรลูกเสือสามัญ ๔ ชั่วโมง
๒. กิจกรรมกลางแจ้ง
๓. ระเบียบแถว (ท่ามือเปล่า ท่าอาวุธ
สัญญาณมือและ
นกหวีด การตั้งและเรียกแถว |
๔ |
|
๑๐ |
การฝึกเป็นผู้นำ
๒. คุณสมบัติของผู้นำในหมู่บ้าน
๓.
องค์ประกอบที่สำคัญในการสร้างความเป็นปึกแผ่น
๔. อบรมวิชาการเป็นผู้นำตามหลักสูตรใช้เวลา ๓
วัน ๒คืน
|
๔ |
|
|