คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รหัสวิชา ค
21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1.5
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริง โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
สมบัติของจำนวนนับ
ตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.)
และการนำไปใช้ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) และการนำไปใช้
ระบบจำนวนเต็ม จำนวนเต็ม การเปรียบเทียบจำนวนเต็ม
จำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ การบวกจำนวนเต็ม การลบจำนวนเต็ม
การคูณจำนวนเต็ม การหารจำนวนเต็ม สมบัติของจำนวน-เต็มและการนำไปใช้
เลขยกกำลัง
การเขียนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม การคูณเลขยกกำลัง
เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การหารเลขยกกำลัง
เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การเขียนจำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
พื้นฐานทางเรขาคณิต
จุด เส้นตรง ส่วนของเส้นตรงและรังสี มุมและชนิดของมุม การสร้างพื้นฐาน
การสร้างรูปเรขาคณิตอย่างง่าย
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผลการสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด
ค 1.4 ม.1/1 ค 1.1 ม.1/1 ค 1.2 ม.1/1 ค 1.1 ม.1/2 ค 1.2 ม.1/3
ค 1.2 ม.1/4
ค 3.1 ม.1/1 ค 3.1 ม.1/2 ค 3.1 ม.1/3
รวม 9 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รหัสวิชา ค
21102 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1.5
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริงโดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
เศษส่วน เศษส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน
การบวกและการลบเศษส่วน การคูณและการหารเศษส่วน โจทย์ปัญหาเศษส่วน
ทศนิยม เศษส่วนกับทศนิยม การเปรียบเทียบทศนิยม
การบวกและการลบทศนิยม การคูณและการหารทศนิยม โจทย์ปัญหาทศนิยม
การประมาณค่า การประมาณค่า
การเลือกใช้วิธีการประมาณค่าที่เหมาะสมในสถานการณ์ต่าง ๆ
คู่อันดับและกราฟ คู่อันดับ
กราฟของคู่อันดับบนระนาบพิกัดฉาก
การอ่านและแปลความหมายของกราฟบนระนาบพิกัดฉาก
การเขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องของปริมาณสองชุด
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แบบรูปและความสัมพันธ์
คำตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปร-เดียว สมบัติของการเท่ากัน
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
การอธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติกับภาพสองมิติ
การอธิบายภาพสองมิติที่ได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้าง
และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ
การวาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์
เมื่อกำหนดภาพสองมิติที่ได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้างหรือด้านบน
โอกาสของเหตุการณ์ โอกาสและเหตุการณ์
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด
ค 1.2 ม.1/2 ค 1.3 ม.1/1
ค 4.2 ม.1/4 ค 4.2 ม.1/5 ค
4.1 ม.1/1 ค 4.2 ม.1/1
ค 4.2 ม.1/2 ค 4.2 ม.1/3 ค 3.1 ม.1/4
ค 3.1 ม.1/5 ค 3.1 ม.1/6 ค 5.2 ม.1/1
รวม 12 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รหัสวิชา ค
22101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เวลา
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1.5
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริง
โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
อัตราส่วนเเละร้อยละ
อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
เเผนภูมิรูปวงกลม
การอ่านเเผนภูมิรูปวงกลม การเขียนเเผนภูมิรูปวงกลม
การเเปลงทางเลขาคณิต
ความสัมพันธ์ระหว่างต้นแบบและรูปได้จากการเลื่อนขนาน
การสะท้อนและการหมุน นำสมบัติเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน(translation)
การสะท้อน(reflection)
และการหมุน(rotation)
และนำไปใช้ได้
พิกัดของรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการเลื่อนขนาน การสะท้อนและการหมุน
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด
ค
1.1 ม.
2/3 ค 2.1 ม.2/1 ค 2.1 ม.2/2-3 ค 2.2 ม.2/1
ค 3.2 ม.2/1 ค 3.2 ม.2/3
ค 3.2 ม.2/4 ค 4.2 ม.2/2
รวม 9 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รหัสวิชา ค
22102 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เวลา
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1.5
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริง โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส บทกลับ
การนำไปใช้
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.2/1 ค 1.1 ม.2/2 ค 1.4 ม.2/1 ค 1.2 ม.2/1 ค 1.2
ม.2/2 ค 1.3 ม.2/1
ค 3.2 ม.2/1 ค 3.2 ม.2/2 ค4.2 ม.2/1 ค 5.1 ม.2/1
รวม 10
ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รหัสวิชา ค
23101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1.5
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริง โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก การหาปริมาตรของพีระมิด
กรวยและทรงกลม การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตร
ความคล้าย รูปที่คล้ายกัน รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน การนำไปใช้
กราฟ กราฟเส้นตรง กราฟเส้นตรงกับการนำไปใช้ กราฟอื่นๆ
ระบบสมการเชิงเส้น สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด
ค 2.1
ม.3/1 ค 2.1
ม.3/2
ค 2.1 ม.3/3
ค 2.1 ม.3/4
ค 2.2 ม.3/1
ค 3.1 ม.3/1
ค 3.2
ม.3/1 ค 4.2
ม.3/2
ค 4.2 ม.3/3
ค 4.2 ม.3/4
ค 4.2 ม.3/5
รวม 11 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รหัสวิชา ค
23102 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1.5
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริง
โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
อสมการ
คำตอบและกราฟแสดงคำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สถิติ การกำหนดประเด็น การเขียนข้อคำถาม
การกำหนดวิธีการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล
การหาค่ากลางของข้อมูล การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูล การอ่าน
การแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ข้อมูลสารสนเทศ
ความน่าจะเป็น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ การนำไปใช้
การเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เกี่ยวกับเลขยกกำลัง อัตราส่วนและร้อยละ ปริมาตรและพื้นที่ผิว สถิติ
ความน่าจะเป็น
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด
ค 4.2
ม.3/1
ค 5.1 ม.3/1
ค 5.1 ม.3/2
ค 5.1 ม.3/3
ค 5.1 ม.3/4
ค 5.2 ม.3/1
ค 5.3
ม.3/1
ค 5.3 ม.3/2
ค 6.1 ม.3/1
ค 6.1 ม.3/2
ค 6.1 ม.3/3
ค 6.1 ม.3/4
ค 6.1 ม.3/5
ค 6.1 ม.3/6
รวม 14 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
รหัสวิชา ค
21201 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา
2 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำนวน 1.0
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้โดย การปฏิบัติจริง
โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
การประยุกต์
1 รูปเรขาคณิต จำนวนนับ ร้อยละในชีวิตประจำวัน
ปัญหาชวนคิด
จำนวนและตัวเลข
ระบบตัวเลขโรมัน ระบบตัวเลขฐานต่าง ๆ
การประยุกต์ของจำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
การคิดคำนวณ โจทย์ปัญหา
การสร้าง
การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ การสร้างรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อ
ความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
ค
1.1 ค 1.1 ค
1.2 ค 3.1
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
รหัสวิชา ค
21202 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา
2 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำนวน 1.0
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้โดย การปฏิบัติจริง โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
การเตรียมความพร้อมในการให้เหตุผล
การให้เหตุผลในชีวิตประจำวัน การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์อย่างง่าย
พหุนาม
เอกนาม การบวก ลบ คูณ และหารเอกนาม พหุนาม การบวก การลบพหุนาม
การคูณการหารพหุนามอย่างง่าย
การประยุกต์ ๒
การประยุกต์ของจำนวนและพีชคณิต การประยุกต์ทางเรขาคณิตและ การวัด
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
ค
6.1 ค 4.2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
รหัสวิชา ค
22201 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เวลา
2 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำนวน 1.0
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริง
โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
สมบัติของเลขยกกำลัง
บทนิยามและสมบัติอื่น ๆของเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
และการนำไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือ สถานการณ์ต่าง ๆ
การใช้เลขยกกำลังในการเขียนแสดงจำนวนที่มีค่าน้อย ๆ หรือมาก ๆ
ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ การคำนวณเกี่ยวกับจำนวนที่อยู่ในรูปสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์
พหุนาม และเศษส่วนของพหุนามอย่างง่าย
การบวก การลบ การคูณ และการหารพหุนาม การบวกการลบ การคูณ
และการหารเศษส่วนของพหุนามที่พหุนามมีดีกรีไม่เกินหนึ่ง
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การสร้างงานศิลปะโดยการแปลงทางเรขาคณิต
การออกแบบโดยใช้การแปลงทางเรขาคณิต
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
ค
1.1 ค 1.2 ค
3.1 ค 6.1
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
รหัสวิชา ค
22202 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เวลา
2 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำนวน 1.0
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้ โดย การปฏิบัติจริง
โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป
ax +
bx + c เมื่อ a,b,c,
เป็นค่าคงตัว และ a > 0
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกำลังสองสมบูรณ์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ผลต่างกำลังสอง
สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้การแยกตัวประกอบ
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้สูตร
x =
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้การแยกตัวประกอบ
การแปรผัน
การแปรผันโดยตรง การแปรผันแบบผกผัน การแปรผันเกี่ยวเนื่อง
การนำไปใช้
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ค
1.2 ค 4.2 ค
6.1
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
รหัสวิชา ค
23201 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา
2 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำนวน 1.0
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้โดย การปฏิบัติจริง โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
กรณฑ์ที่สอง
การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนจริงที่อยู่ในรูป
เมื่อ
a >0 โดยใช้สมบัติ
=
เมื่อ
a > 0 และ b > 0
=
เมื่อ
a > 0 และ b > 0
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยอาศัยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์หรือใช้ทฤษฎีเศษเหลือ
สมการกำลังสอง
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว โดยใช้สูตร x
= และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
พาราโบลา สมการพาราโบลา กราฟของสมการพาราโบลาที่อยู่ในรูป
y = ax2 + bx + c
เมื่อ a ≠ 0
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ค 1.2 ค 4.1
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
รหัสวิชา ค
23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา
2 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำนวน 1.0
หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
ษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
และเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริง โดยมีขอบข่ายสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับ
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
การหาพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม
การแก้ปัญหาหรือสถานการณ์โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับปริมาตรและพื้นที่ผิว
เศษส่วนพหุนาม
การบวก ลบ คูณ และการหารเศษส่วนของพหุนาม การแก้สมการเศษส่วนของพหุนาม
การแก้ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วนพหุนาม
ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการสองตัวแปรที่มีดีกรีไม่เกินสอง
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการสองตัวแปรที่มีดีกรีไม่เกินสอง
การให้เหตุผลทางเรขาคณิต
สมบัติเกี่ยวกับวงกลม การให้เหตุผลเกี่ยวกับการสร้างรูปเรขาคณิต
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อความหมายและการนำเสนอข้อมูล
การเชื่อมโยงและการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มีความ-เชื่อมั่นในตนเอง
พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ค
2.1 ค 2.2 ค 3.1 ค
1.2 ค 6.1